วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึการเรียนครั้งที่ 6


ครั้งที่ 6

วันอังคารที่  23  กัยยายาน  2557

เข้าร่วมสัมนา
 "จิตอาสาตามรอยแนวคิดเศรฐกิจพอเพียง"
โดย คุณ ปอ ทฤษฎี  สหวงษ์ 












แนวทางของเศรษฐกิจพอเพีบงกับการใช้ชีวิตประจำวันของเรา การดูแลไม่ทารุนสัตว์ การเป็นคนดีมีจิตอาสา รู้จักการเสียสละ




บันทึการเรียนครั้งที่ 5


ครั้งที่ 5

วันอังคารที่   16  กัยยายาน  2557

ทำสื่อการเรียนรู้

สัตว์ปากขยับได้
     
                  อุปกรณ์
                     - กระดาษ
                     - กรรไกร
                     - สี
                     - กาว



               วิธีการทำ
   - ระบายสีรูปภาพ
   - พับครึ่งกระดาษ
   - ตัดกระดาษตามเป็นแนวตรงเพียงเล็กน้อย
   - พับกระดาษส่านที่ตัดเป็นรูป สามเหลี่ยม ทั้งสองด้าน
   -  คลี่กระดาษออก แล้ว พับครึ่งกลับไปอิกด้าน
   -  นำกระดาษแผ่นมาทากาวทับ เว้นไว้ให้ห่างกับบริเวณปาก

*** เทคนิค คือ ต้องพับให้ตรงกันกึ่งกลางพอดี ***       
 **** ไม่ควรทากาวใกล้บริเวณปาก เพราะ จะทำไห้ปากนั้นติดและไม่สามาถขยับได้ *****






ไก่ออกไข่

อุปกรณ์
 - กระดาษ
 - กรรไกร
 - สี
 - มีดคัตเตอร์






วิธีการทำ
-  ระบายสีรูปไก่
-  พับครึ่งกระดาษ
-  ตัดกระดาษตามเส้นด้านหลัง
-  วาดรูปไข่ตามใจชอบ
-  ใช้มีดคัตเตอรร์กรีดบริเวณก้นของไก่ เป็นรูพอสอดกระดาษจากด้านหลังได้
*** กรีดเป็นรอยตรงก้นรูปไก่ แล้ว วาดไข่อีกด้านหนึ่งของกระดาษ ***




เพื่อนนำเสนอการใช้ประโยชน์ของสื่อ จากการวิเคราะห์ของเล่น


ตัวอย่างสื่อที่ทำมาจากวัสดุเหลือใช้



สื่อที่ทำจากแกนกระดาษทิษชู




สื่อที่ทำจากจานกระดาษ






ทำสื่อการเรียนรู้

นิทานคุณธรรมขยับได้ 





                                                            อาจารย์อธิบายถึงขั้นตอนการทำ



นิทานเรื่อง จ้อยจอมเกเร



สมาชิกในกลุ่มช่วยกันทำงาน


ภาพชิ้นงาน(ยังไม่สมบูรณ์)


บันทึกการเรียนครั้งที่ 4


ครั้งที่ 4

วันอังคารที่  9   กันยายาน  2557
วิเคราะห์สื่อและของเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย

                  
       
     


ภาพกิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์สื่อและของเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย


วิเคราะห์สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย

สื่อประเภท          หนังสือนิทาน
ชื่อสื่่อ                 หนังสือนิทานเรื่องครอบครัวหึ่งหั่ง
เหมาะสำหรับ     ทุกวัย
ลักษณษะของสื่อ         มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับครอบครัวของผึ้งที่มีพี่น้องเจ็ดตัว และทำกิจกรรมต่างๆกับครอบครัวในเจ็ดวัน  ลักษณะการแต่งเนื้อหาเป็นคำคล้องจอง อ่านง่าย สนุก มีการสอดแทรกคุณธรรม
ประโยชน์ของสื่อ  เด็กได้เรียนรู้คำศัพท์ที่ใหม่ๆ และ คุณธรรมจิยธรรม             

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3


ครั้งที่  3

วันอังคารที่   2  กัยยายาน  2557


การเรียนรู้ระดับปฐมวัย
                  เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากรูปธรรม => นามธรรม โดยผ่านการเล่นผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
               
                1.  การเรียนรู้เด็กปฐมวัยด้วยองค์ความรู้ด้านสมอง และทฤษฏีพหุปัญญา
                      1.1 ปัญาทางด้านภาษา
                      1.2 ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์
                      1.3 ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
                      1.4 ปัญญาด้านดนตรี
                      1.5 ปัญญาด้านนิติสัมพันธ์
                      1.6 ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง
                      1.7 ปัญญาด้านมนุษย์สัมพันธ์
                      1.8 ปัญญาทางด้านความสัมพันธ์กับธรรมชาติ

           ลักษณะของสื่อ
               ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้แบ่งสื่อออกเป็น 3 ประเภท
       
              1. สื่อการสอนประเภทวัสดุ สามารถจำแนกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้ 2 กลุ่ม
                  1.1 วัสดุการสอนที่ครูจัดทำหรือจัดหามา
                  1.2 วัสดุการสอนที่มีผู้จัดทำจำหน่าย
                        1.2.1 สิ่งพิมพ์
                        1.2.2 ภาพชุด
                        1.2.3 เทปโทรทัศน์
                        1.2.4 เทปเสียง
             2. สื่อการสอนประภทอุกรณ์
                 2.1 เครื่องเสียง
                 2.2 อุปกรณ์ประกอบเครื่องฉาย
                 2.3 อุปกรณ์ที่ไม่เกี่ยวกับการใช้เสียงหรือใช้ภาพ
             3. สื่อการสอนประเภทวิธีการ
                 3.1 การสาธิต
                 3.2 การทดลอง
                 3.3 เกม
                 3.4 การแสดงบทบาทสมมุติ
                 3.5 การจำลองสถานการณ์
                 3.6 การฝึกปฏิบัติจริงหลังการสนทนาเนื้อหา
                 3.7 ทัศนคติ
                 3.8 กิจกรรมอิสระ
                 3.9 กิจกรรมที่จัดขึ้นตามโครงการ

          ลักษณะของสื่อการสอนระดับปฐมวัย
             1. มีลักษณะที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
             2. มีขนาดเหมาะสมกับเด็และขนาดของมือเด็ก
             3. มีคุณค่าต่อพัฒนาการด้านต่างๆของเด็ก
             4. ใช้ประสาทสัมผัสได้มากแลหลายส่วน
             5. มีสีสันสวยงามสดใส ไม่สะท้อนแสง
             6. มีความทนทาน น้ำหนักเบา ไม่แตกหักง่าน ไม่แหลมคม
             7. มีรายละเอียดน้อย ง่าย (เหมาะสมกับวัย)
             8. มีลักษณะเป็นมิติ ซึ่งเด็กจะสนใจและเข้าใจได้ดีกว่า
             9. เป็นสื่อที่สอดคล้องกับเรื่งที่เด็กสนใจ และต้องการเรียนรู้
             10. ได้สามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือปรับเปลี่ยนรูแบบได้

          การจัดระบบสื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
            1. การเลือกสื่อ
                1.1 มีความปลอดภัย สื่อที่จะสร้างขึ้นหนรือเลือกให้เด็กครูควรคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นอันดับแรก
                      1.1.1 ต้องทำจากวัสดุท่ไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อเด็ก
                      1.1.2 พื้นผิวของวัสดุเรียบ
                      1.1.3 ขนาดและน้ำหนักเหมาะสม
                1.2 คำนึงถึงประโยชน์ที่เด็กได้รับ
                      1.2.1 เร้าให้เด็กอยากรู้อยากเห็น
                      1.2.2 กระตุ้นพัฒนาการ
                      1.2.3 ประโยชน์ที่มีต่อกล้ามเนื่อและการเคลื่อนไหว

                                          


                                 


บันทึกการเรียนครั้งที่ 2



ครั้งที่ 2

วันอังคารที่  26 สิงหาคม 2557

เข้าร่วมงานศึกษาศาสตร์วิชาการ  ของคณะศึกษาศาสตร์

 





วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1

ครั้งที่ 1
บทความที่สนใจเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย

วันอังคราที่ 19 สิงหาคม 2557

การบ้านสำหรับเด็กอนุบาลเป็นสิ่งจำเป็นรึเปล่านะ?
ในขณะที่คุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ ท่านเห็นพ้องกันว่าการบ้านสำหรับเด็กอนุบาลเป็นเรื่องที่ไร้สาระ แต่ก็ยังคงให้ลูกวัยอนุบาลทำการบ้านอยู่ดีเพราะกลัวว่าลูกจะตามไม่ทันเพื่อน ๆ หรืออยู่รั้งท้ายที่โรงเรียนคุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ ท่านก็กังวลว่าลูกของตัวเองจะรั้งท้ายเมื่อเริ่มเรียนชั้นประถม ท่ามกลางการรีบเร่งให้เด็กเล็กพร้อมเข้าโรงเรียนกันในทุกวันนี้ ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ส่วนใหญ่จึงเลือกที่จะไม่บ่นอะไรเรื่องการบ้านสำหรับเด็กอนุบาล
คำถามคือ ควรเป็นเช่นนั้นหรือ? การบ้านสำหรับเด็กอนุบาลเป็นสิ่งจำเป็นจริง ๆ รึเปล่านะ?
เรียนรู้มากขึ้นเมื่อไม่มีการบ้าน
งานวิจัยได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า ในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิตเด็กเป็นช่วงเวลาสำคัญสำหรับพัฒนาการที่ดีของลูก รายการที่เรากำลังจะบอกคุณต่อไปนี้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เกิดขึ้นกับเด็ก ๆ ในช่วงเวลาปีแรก ๆ ที่ว่า
- ลูกกำลังค้นพบตัวเองว่าตัวเองเป็นใครและคนอื่น ๆ ตอบสนองต่อตัวเองอย่างไร
- ลูกกำลังค้นหาว่าการแสดงอารมณ์หมายความว่าอย่างไร
- สมองของลูกกำลังเชื่อมต่อเป็นรูปแบบต่าง ๆ สำหรับพัฒนาการทางอารมณ์ สังคม ร่างกาย และการเรียนรู้ในอนาคต
ด้วยเหตุนี้ จุดมุ่งเน้นสำหรับการศึกษาของเด็กอนุบาลควรเป็นการให้โอกาสเด็กเล็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่น รวมถึงได้พัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับคนและนิสัยการเรียนรู้เชิงบวก
เด็กจะได้รับประโยชน์มากที่สุดเมื่อครูให้เด็กมีส่วนร่วมในการมีปฏิสัมพันธ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และส่งเสริมทางด้านอารมณ์ไปพร้อม ๆ กัน
การบ้านที่ไม่เหมาะสมกับอายุของเด็กและระดับการคิดมีแต่จะทำให้เกิดการเรียนรู้แบบเชิงรับซึ่งอาจไม่ก่อประโยชน์กับตัวเด็ก ดังนั้น การบ้านสำหรับเด็กอนุบาลอาจไม่ใช่ความคิดที่ดีนัก
การบ้านเด็กอนุบาลควรเหมาะกับวัย
การบ้านที่ไม่เหมาะสมกับอายุสำหรับเด็กอนุบาลอาจทำให้เกิดผลเสียมากกว่าดี
การเรียนรู้วิธีการเขียนอ่านในช่วงก่อนวัยเรียนเป็นสิ่งที่ดี แต่การบ้านที่ไม่เหมาะกับอายุของเด็กอาจแย่งเวลาเล่นและช่วงเวลาครอบครัวที่มีค่าไปแต่การบ้านก็มีข้อดีของมันอยู่
ข้อดี
- ช่วยให้เด็กในวัยนี้รู้สึกว่ามีความสามารถในฐานะผู้เรียน
- ช่วยเตรียมเด็กในวัยนี้สำหรับการเข้าโรงเรียนในชั้นประถม
- ช่วยสร้างวินัยให้กับเด็ก
- ช่วยให้เด็กได้รู้ว่า ลูกจะต้องเจอกับอะไรในการเรียนชั้นประถม
สิ่งที่คุณควระลึกไว้เสมอเกี่ยวกับการบ้านสำหรับเด็กอนุบาล
- พยายามเข้าใจเหตุผลที่อยู่เบื้องหลังการสั่งการบ้าน บางครั้งเป้าหมายของการบ้านคือเพื่อส่งเสริมการสร้างความผูกพันระหว่างคุณพ่อคุณแม่และลูก
- การบ้านบางทีอาจช่วยให้โอกาสคุณพ่อคุณแม่ร่วมมือกันกับลูกในการทำการบ้านง่าย ๆ ให้เสร็จด้วยกัน
จำไว้เสมอว่าการบ้านสำหรับเด็กอนุบาลต้องเหมาะสมกับวัยและมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โรงเรียนไม่ควรเพียงแต่แจกการบ้านเพื่อให้เด็กมีการบ้านเท่านั้น อย่างไรเสีย การบ้านของเด็กอนุบาลส่วนใหญ่แล้วควรเป็นการค้นหา การเล่น และการฟังนิทานก่อนนอน

ที่มา  :  http://th.theasianparent.com






เลือกของเล่นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
เขียนโดย the Asianparent Editorial Team
ความปลอดภัยต้องมาก่อน
เป็นสิ่งแรกที่คุณพ่อคุณแม่ควรให้ความสำคัญค่ะ โดยพิจารณา วัสดุที่ใช้ ว่ามีความปลอดภัยหรือไม่ เช่น ควรเป็นของเล่นที่มีมาตรฐานรับรองความปลอดภัย ไม่มีสารพิษหากนำเข้าปาก เพราะเด็กเล็กเป็นวัยที่ฟันกำลังขึ้น หลายคนจึงมักจะชอบกัดแทะเอาของเล่นเข้าปากเป็นประจำและไม่มีเหลี่ยมมุมที่แหลมคม หรือหักได้ เพราะอาจบาดตามอวัยวะต่างๆ ของลูกน้อย เป็นอันตรายได้ นอกจากนี้ไม่ควรเลือกของเล่นถอดประกอบที่มีชิ้นส่วนเล็กๆ โดยเฉพาะในเด็กวัยไม่เกิน 2 ขวบ เพราะเด็กอาจเอาชิ้นส่วนเล็กๆ เข้าปาก กลืน และติดคอ หรือนำไปแหย่ในรูหู หรือรูจมูกได้ค่ะ
เคล็ด(ไม่)ลับเลือกของเล่นให้เหมาะกับวัยของลูก
เนื่องจากเด็กในแต่ละวัยมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน คุณพ่อคุณแม่จึงควรเลือกของเล่นให้เหมาะกับวัยของลูก เพื่อเขาจะได้เล่นได้สนุกสนานและช่วยพัฒนาศักยภาพทางร่างกายและสมองของเขาได้เต็มที่นั่นเองค่ะ เคล็ดลับง่ายๆ ที่ดิฉันใช้คือ การอ่านฉลากที่ของเล่น ซึ่งส่วนใหญ่จะมีบอกไว้ชัดเจนว่า ของเล่นนี้เหมาะกับเด็กวัยใด และคุณพ่อคุณแม่อย่าลืมทำความเข้าใจวิธีเล่นจากคู่มือ เพื่อที่จะเล่นสนุกได้ประโยชน์จากของเล่นอย่างคุ้มค่า นอกจากนี้ก็คือพาลูกไปเลือกของเล่นด้วยกันเลยค่ะ ถ้าสามารถทดลองเล่นได้ก็ให้เขาได้ลองเล่น เพื่อที่จะดูว่าลูกมีพัฒนาการพร้อมที่จะเล่นของเล่นชิ้นนั้นหรือยัง ยากเกินไปหรือง่ายเกินไปหรือไม่
อีกสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือดูความสนใจของลูกค่ะ เพราะเด็กแต่ละคนมีความสนใจไม่เหมือนกัน ลองสังเกตดูว่าลูกชอบอะไรเป็นพิเศษและต่อยอดสิ่งที่ลูกสนใจ โดยหาของเล่นมาเป็นผู้ช่วย

ที่มา  :  http://th.theasianparent.com